สืบเนื่องจากการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2
เมื่อวันที่ 8 กันยายนที่ผ่านมา
และเป็นข่าวสำคัญไปทั่วโลก
ในวันนั้นเอง สำนักข่าวบีบีซีของอังกฤษได้เปลี่ยนสีพื้นโลโก้จากแดงสดเป็นดำสนิท
นักข่าวต่างทยอยเปลี่ยนใส่ชุดดำออกมารายงานความเคลื่อนไหว
เป็นสัญญาณบอกให้เรารู้ได้ว่าเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น !!!
ใช่ สีดำเป็นสีไว้ทุกข์
ที่เราคนไทยก็ใส่กันเมื่อไปร่วมงานศพ หรือใส่ไว้ทุกข์จนกว่าจะเผา (และในวันนี้ก็เป็นวันประกอบพระราชพิธีฝังพระบรมศพสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่สองด้วย)
แล้วทำไมจึงเป็นเช่นนั้น ตามเธรดนี้ด้วยกันครับ
(อธิบายภาพ พระบรมฉายาลักษณ์ ร.5 ทรงฉายร่วมกับพระราชโอรส-ธิดา ชั้นเจ้าฟ้า
ทุกพระองค์ล้วนทรงภูษาสีดำไว้ทุกข์ เนื่องในงานพระบรมศพเจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร
ซึ่งเสด็จสวรรคตก่อนพระชันษาอันควร เมื่อปี 2438)
ขนบไทย
ผู้ใหญ่แต่งดำ ผู้เยาว์แต่งขาว
ระเบียบการแต่งกายของไทยเมื
หากอายุอ่อนกว่าผู้ตาย เช่นเป็นลูก หรือเป็นน้อง ให้แต่งขาว
หากอายุแก่กว่าผู้ตาย เช่นเป็นพ่อแม่ของผู้ตาย ให้แต่งดำ
หากเป็นมิตรสหายกับผู้ตาย ให้นุ่งดำ ห่มขาว (หรือสวมเสื้อขาว)
หากไม่ได้เกี่ยวข้องกับผู้ต
หากเป็นในวัง จะนุ่งม่วงแก่/น้ำเงินแก่ ผ้าทรงสีเขียว ทรงสะพักแพร (สไบ) สีนวล
จะเห็นได้ว่า คนไทยเราถือเอาความสัมพันธ์
และยึดความอาวุโส อ่อน-แก่ เป็นปัจจัยหลักในการพิจารณา
ด้วยระบบอาวุโส ผู้ใหญ่-ผู้เยาว์ เป็นฐานความคิดของเรามาแต่โ
จากพระรูปด้านบน ฉายในงานพระราชทานเพลิงพระศ
พระองค์เจ้าศรีวิไลยลักษณ์ กรมขุนสุพรรณภาควดี
ที่พระราชวังบางปะอิน เมื่อปี 2448 ในปลายรัชสมัย ร.5
ให้สังเกตเจ้านายชั้นผู้ใหญ
ส่วนเจ้านายผู้เยาว์ยังอ่อน
และในวันนั้นเอง
เนื่องจากพระองค์เจ้าศรีวิไ
พระเจ้าอยู่หัวจึงแหวกประเพ
ควีนวิกตอเรีย
ราชินีหม้าย ผู้สร้างตำนานชุดดำ
ประเพณีการแต่งกายไว้ทุกข์ส
ชาวโรมัน จะแต่งดำ งดใส่เครื่องประดับ เพื่อไว้อาลัยให้กับผู้ตาย
ผ่านมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อมีคนตาย
หญิงหม้ายจะแต่งดำเป็นเวลา 2 ปี ไปจนถึงตลอดชีวิต
หากเป็นพี่น้อง จะไว้ทุกข์กัน 6 เดือน
ถ้าเป็นญาติ จะสวมชุดดำไปช่วงระยะเวลาหน
แต่ขนบการแต่งดำไว้ทุกข์มาเ
แห่งจักรวรรดิอังกฤษ
(ควีนวิกตอเรีย คือเทียดของควีนเอลิซเบธ หรือควีนเอลิซเบธ คือลื่อของควีนวิกตอเรีย พูดง่ายๆ ก็คือสืบสาแหรกห่างกัน 4 ชั่วอายุคนนั่นเอง)
เมื่อเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี สวรรคตลงในปี ค.ศ. 1861 (ตรงกับปี พ.ศ. 2404 ในสมัย ร.4)
พระองค์ทรงโทมนัสเป็นอย่างย
ทรงเก็บพระองค์ ไม่ออกสื่อ
และปฏิญาณตนที่จะฉลองพระองค
ตราบจนสวรรคตลงในปี 1901 (หรือ พ.ศ. 2444 ปลาย ร.5)
รวมเวลาที่ทรงดำทั้งสิ้นร่ว
การทรงดำเป็นปกติ ในระยะเวลาที่ยาวนานนี้เอง ได้สร้างธรรมเนียมปฏิบัติให
กลายเป็น “นิวนอร์มอล” หรือมาตรฐานใหม่ ให้ประชาราษฎร์สมัยนั้นเคร่
มีตั้งแต่ 3 เดือน ไปจนถึง 2 ปีครึ่ง
อีกยังมีการจัดระเบียบเป็นไ
และแบบกึ่งไว้ทุกข์ (Half Mourning) ที่อนุญาตให้มีสีขาว/เทา/
แต่งดำบ้าง
ตามอย่างฝรั่ง
จากประเพณีนิยมแต่งดำไว้ทุก
ราชสำนักสยามก็รับมาปฏิบัติ
เช่นคราวงานพระบรมศพเจ้าฟ้า
ทั้ง ร.5 และเจ้านายอื่นๆ ที่ยังทรงพระเยาว์ ก็หันมาฉลองพระองค์ดำกันให้
ตามขนบการแต่งกายไว้ทุกข์ขอ
ในยุคนั้น จักรวรรดิอังกฤษเข้ามาเจริญ
มีพวก Expat ชาวบริเตนใหญ่โดยสารเรือกลไ
บ้างเป็นผู้พิพากษา นักกฎหมาย เป็นนายธนาคาร นักหนังสือพิมพ์ เป็นหมอ หรือเป็นพ่อค้า ตั้งห้างใหญ่โต
จากภาพ เป็นรูปถ่ายของครอบครัวทนาย
จะสังเกตว่าสุภาพสตรีที่นั่
สวมเสื้อสีดำเป็น Blouse แบบฝรั่ง คอปิด แขนยาวเป็นพวง ตามแฟชั่นยุค 1900 นิดๆ
มีห่มทับด้วยสไบแพรสีดำ และนุ่งโจงกระเบนดำ
แถมสวมรองเท้าสีดำมีส้นอย่า
ตรงตามขนบการแต่งกายไว้ทุกข
ขอให้สังเกตเพิ่มเติมว่า ทรงผมของสุภาพสตรีท่านนี้ คือทรงดอกกระทุ่ม
อันเป็นทรงพิมพ์นิยมของสตรี
ด้วยเป็นทรงที่เลียนแบบผมเก
เด็กผู้ชายสองคนทางซ้ายมือ ซึ่งเป็นลูกครึ่ง (Eurasia) สวมชุดสากลโก้ ใส่แจ็กเก็ต และกางเกงขาสั้นยาวคลุมเข่า
และที่สำคัญ คาดผ้าดำที่แขนเสื้อด้านซ้า
ส่วนลูกสาว ไม่ได้ใส่ชุดดำตามธรรมเนียม
แต่กลับใส่เสื้อลูกไม้สีขาว
ด้วยมีเครื่องจักรในการทอผ้
แล้วชายหนุ่มชาวไทยที่ยืนอย
สันนิษฐานว่าเป็นเลขา หรือล่ามของนายฝรั่ง สวมใส่เสื้อราชปะแตน
ซึ่งถือเป็นชุดสูทแบบไทยๆ ที่สุภาพบุรุษชาวสยามสวมใส่
เครดิตภาพ
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร