ซีรีส์ “อาหารไทย ไฉนชื่อเทศ” เดินทางมาถึงวีคที่ 4 แล้ว
คราวนี้เป็นทีของของหวานที่เรียกกันว่า “ลอดช่องสิงคโปร์”
ว่ากันว่าเป็นลอดช่องที่มีเฉพาะที่ประเทศไทยเท่านั้น
หาชิมไม่ได้ในสิงคโปร์ และที่ประเทศอื่นๆ
จริงหรือเปล่า?
แต่ก่อนจะแวะไปถึงสิงคโปร์
ลองมาดูลอดช่องชวา และลอดช่องไทย กันก่อน
จะเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ตามมาได้เลยจร้า
ลอดช่องชวา
ลอดช่องจากอินโด ถือว่าเป็นต้นกำเนิดให้กับข
แดนอิเหนาเค้าเรียกลอดช่องก
แปลว่า โหนก โป่ง
ตามรูปร่างของแป้งลอดช่องสี
แรกเริ่มเดิมที ลอดช่องชวา ทำจากแป้งที่ได้จากต้นตาว (พืชตระกูลปาล์ม คล้ายๆ มะพร้าว หรือต้นตาล มีขึ้นอยู่ทั่วไปในหมู่เกาะ
หรือไม่ก็แป้งจากต้นสาคู (พืชตระกูลปาล์มเช่นกัน ภาคใต้ของไทยเราก็มี)
ซึ่งเป็นแป้งที่ให้ความเหนี
แต่ด้วยความที่แป้งต้นตาว หรือแป้งสาคู มีขั้นตอนการทำที่ยุ่งยาก
เลยหันมาใช้แป้งข้าวเจ้าแทน
แต่กระนั้น คนโบราณก็มีเคล็ดลับก้นครัว
แบบเดียวกับขนมเปียกปูน เพราะน้ำปูนใสมีแคลเซียม จึงช่วยให้แป้งข้าวเจ้าเด้ง
ส่วนวิธีทำน้ำกะทิของอินโดน
เค้าจะไม่เคี่ยวกะทิกับน้ำต
แต่จะแยกเป็นน้ำกะทิสดหม้อน
โดยใช้น้ำตาลมะพร้าว หรือน้ำตาลจากต้นตาว มาเคี่ยวจนเหนียวข้น มีสีเข้ม แบบคาราเมล
เมื่อจะกิน จึงตักลอดช่องและกะทิใส่ชาม
ค่อยๆ คน เพื่อให้น้ำตาลละลาย
บ้างใส่เนื้อขนุน หรือทุเรียนลงไปด้วย
เพิ่มรสชาติ เพิ่มกลิ่น และสีสันในการกิน “เจ็นดล” หรือลอดช่องตำรับชวา ได้เป็นอย่างดี
ลอดช่องไทย
เป็นลอดช่องที่ทำจากแป้งข้า
มีสีเขียวจากน้ำใบเตย เพื่อเพิ่มสีและกลิ่น
ในการทำเส้นลอดช่องนั้น จะกวนแป้งจนสุก
เทใส่กระบอก แล้วกดแป้งขณะที่ยังไม่แข็ง
ด้วยกรรมวิธีโรยเส้นเช่นนี้
ตามลักษณะการรีดเส้นที่คล้า
แต่ที่ต่างจากของอินโดก็คือ
จึงมีน้ำกะทิที่หวานมันเบ็ด
ไม่ได้ต้องแยกกะทิสด กับน้ำเชื่อม เป็นคนละหม้อ อย่างในอินโด
การเคี่ยวกะทิกับน้ำตาลมะพร
ฟักทองแกงบวด มันแกงบวด เผือกแกงบวด หรือกล้วยบวชชี
ล้วนเคี่ยวกะทิกับน้ำตาลครบ
ลอดช่องไทยนิยมกินกับแตงไทย
ถ้าน้ำกะทิอบควันเทียนด้วยแ
ลอดช่องสิงคโปร์
แล้วก็มาถึงพระเอกของเราเสี
ลอดช่องสิงคโปร์ถือเป็นลอดช
เริ่มที่ตัวเส้น
เป็นเส้นที่ต่างไปจากเส้นนก
เพราะไม่ได้ใช้แป้งพื้นฐานอ
สมัยหลังสงคราม (ราวๆ ปี 2490 เป็นต้นมา)
ไทยเรายังไม่อาจผลิตแป้งมัน
จำต้องพึ่งพาการนำเข้าจากมา
หรือนี่อาจเป็นที่มาของชื่อ
แล้วทำไม ต้องเปลี่ยนมาใช้แป้งมัน?
ก็เพราะแป้งมันให้เส้นที่มี
ต่างจากลอดช่องแป้งข้าวเจ้า
แป้งมันอาจมีผิวสัมผัสที่คล
กรรมวิธีการทำเส้น ก็ถือว่าต่างจากการโรยแป้งล
เพราะลอดช่องสิงคโปร์ใช้วิธ
คือนวดแป้งจนเหนียวเป็นก้อน
ก่อนจะนำไปต้มให้สุก
ส่วนน้ำกะทิของลอดช่องสิงคโ
แต่กลับแยกหัวกะทิ (กะทิสด) ออกจากน้ำเชื่อม เป็น 2 หม้อ แบบเดียวกับลอดช่องของอินโด
แล้วน้ำเชื่อมที่ใช้ ก็หาใช่น้ำตาลปี๊บไม่ แต่เปลี่ยนเป็นน้ำตาลทราย (น้ำตาลอ้อย) แทน
ซึ่งเป็นน้ำตาลที่ใช้กันทั่
น้ำกะทิ+น้ำตาลทราย ซึ่งมีสีขาวขุ่นเช่นนี้ เรามักทำกินเฉพาะกับของหวาน
อย่างลอดช่องสิงคโปร์ ทับทิมกรอบ หรือซ่าหริ่ม ที่ปัจจุบันเรียกรวมกันว่า รวมมิตร
จะเห็นได้ว่า ลอดช่องสิงคโปร์ ตามที่กล่าวมา ก็คืออาหารประเภท Fusion Food ดีดีนี่เอง
เป็นของหวานลูกผสมพันทาง ของคนจีนโพ้นทะเล ที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานในแถบ SEA
มีการใช้วัตถุดิบแบบดั้งเดิ
หรือแม้แต่กรรมวิธีก็เป็นกา
มาผนวกกับวัตถุดิบพื้นถิ่นแ
จึงเกิดเป็นลอดช่องแนวใหม่ท
และที่เป็นประเด็นสำคัญ ที่ทำให้ลอดช่องสิงคโปร์ของ
ก็เพราะลอดช่องแบบใหม่ที่ว่
จนเป็นที่นิยมอย่างล้นหลาม เรียกติดปากกันต่อมาว่า ลอดช่องสิงคโปร์
แล้วทำไมจึงตั้งชื่อร้านว่า
เป็นสูตรลับมาจากสิงคโปร์หร
เปล่า แต่เพราะร้านนี้ตั้งอยู่ในล
โรงหนังสิงคโปร์ เป็นโรงหนังเก่า เปิดมาตั้งแต่ปี 2458 ในสมัย ร.6 แล้ว
โรงในเครือเดียวกัน ก็มี โรงหนังสิงคโปร์ ที่สามแยก / โรงหนังชะวา ที่สามยอด / โรงหนังปีนัง ที่บางลำพู / และโรงหนังฮ่องกง ที่สาทร
ทั้งสี่โรง มีชื่อเป็นเมืองท่าสำคัญในต
เพราะคือเมืองท่าอาณานิคมสุ
ครั้นถึง ร.7 โรงหนังสิงคโปร์โดนซื้อกิจก
จึงได้ฤกษ์เปลี่ยนชื่อใหม่เ
แต่ผู้คนยังคงเรียกติดปากตา
สิงคโปร์โภชนา เมื่อแรกนำลอดช่องแป้งมันมา
เป็นช่วงเวลาที่โรงหนังเฉลิ
แต่ถึงแม้ปัจจุบัน โรงหนังเฉลิมบุรีจะได้เลิกก
แต่ตำนานของสิงคโปร์โภชนา ผู้ประดิษฐ์ลอดช่องแห่งสิงค
เชิญไปชิมกันได้
ลอดช่องน้ำตาลข้น เมืองเพชร
เป็นลอดช่องสิงคโปร์ในอีกเว
เส้นหนึบ จากเส้นแป้งมันของลอดช่องสิ
แยกกะทิสด กับน้ำเชื่อมออกจากกัน แบบลอดช่องสิงคโปร์
แต่แทนที่จะใช้น้ำเชื่อมน้ำ
เคี่ยวจนข้น สีเข้ม ให้กลิ่นหอมยิ่ง และมีรสหวานเข้มข้น ตามสไตล์ขนมหวานเพชรบุรี
ลอดช่องน้ำตาลข้นตำรับเมือง
ว่าไปแล้วมีความคล้ายคลึงกั
ทั้งรูปลักษณ์ กลิ่นรส และวิธีการกิน
โดยเฉพาะน้ำตาลข้น ที่หอมหวานอย่างยิ่ง
จะมีต่างกันบ้างก็ที่เส้น
ของเราเป็นแป้งมันแบบลอดช่อ
โบ๊กเกี่ย ลอดช่องจีน
ขอแถมสักหน่อย
ลอดช่องตำรับนี้ ดูจะไม่เข้าพวกกับใครเค้า
ด้วยเป็นสำรับไหหลำ เขียนว่า 粿仔
ออกเสียงตามต้นตำรับได้ว่า “โบ๊กเกี่ย”
แปลว่าขนมขนาดน้อย
粿 แปลว่า ขนม
ไหหลำอ่าน โบ๊ก / ฮกเกี้ยนอ่าน โก้ย /
ก้วยเดียวกับที่เป็น ก๋วยเตี๋ยว หรือก๋วยจั๊บ นั่นไง
โบ๊กเกี่ย เป็นเส้นลอดช่องสีขาวใส
ทำจากแป้งมันผสมแป้งข้าวเจ้
การทำแป้ง มีความคล้ายกับลอดช่องสิงคโ
คือนวดแป้งจนเหนียวดี แต่แทนที่จะตัดเป็นเส้นๆ กลับเอาไปปั้นแบบเส้นเกี้ยม
และด้วยเป็นสูตรจากเมืองจีน
จึงกินกับน้ำเชื่อมน้ำตาลทร
อาจไม่หวานมันแบบน้ำกะทิของ
แต่ก็ให้กลิ่นหอมที่มีเอกลั
เครดิตภาพ
wongnai.com
กนกพร ลอดช่องน้ำตาลข้น เพชรบุรี
Instagram: eddriantjhia
Instagram: rianamilans
#MuseumSiam
#ลอดช่อง #ลอดช่องสิงค์โปร
#อาหารไทยไฉนชื่อเทศ
#ให้ทุกการเรียนรู้สนุกกว่าที่คิด